มีตำนานเล่าต่อกันมาว่า เดิมมีเมือง ชื่อว่า “กัมโพชนนคร” ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่าน มีชาวขอมอาศัย และปกครองอยู่ ปัจจุบันคือบริเวณเวียงเจ้าเงาะ
เมืองลับแลบ้านทุ่งยั้งปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ เจ้าผู้ครองนครกัมโพชนคร ปรารถนาจะได้เมืองลับแล เป็นเมืองขึ้นต่อขอม จึงยกกองทัพมาเพื่อจะบังคับให้
ตกเป็นเมืองขึ้น แต่เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารไม่ยอม กลับยกกองทัพไปชุมพลเพื่อต่อสู้ บ้านที่ชุมพลนี้ต่อมาเรียกว่าบ้านชัยชุมพล เจ้าฟ้าฮ่ามได้นำทัพหน้าเดิน
ทางไปถึงบ้านเกาะกลางก็ปะทะกับทัพขอม และเกิดการรบพุ่ง ชนกันขึ้น เจ้าฟ้าฮ่าม ได้ทรงบวงสรวงเทพยดาให้ช่วยคุ้มครองบ้านเมืองฉับพลันทันใด
ก็เกิดนิมิตมหัศจรรย์ขึ้นคือ เกิดเป็นฝนตกลง หนักท่ามกลางทหารขอมอย่างหนักจนเกิดน้ำท่วมประดุจทะเล กองทัพขอม ที่ถูกฝนตกหนักจนน้ำท่วม
ติดต่อกันหลายวัน เป็นเหตุทำให้ไพร่พลระส่ำระสาย เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารก็เข้ามารบพุ่งจนได้ ชัยชนะ จึงเป็นที่มาของชื่อตำบลชัยจุมพล
(สมปรารถน์ เสาวไพบูลย์, 2527. หน้า 19-25) และได้จัดตั้งเป็น สภาตำบลขึ้นตามคำสั่งของกระทรวงมหาดไทยที่ 222/2499 ลงวันที่ 8 มีนาคม
2499 เรื่องระเบียบบริหาร ราชการส่วนตำบลและหมู่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเปิดโอกาสให้ราษฏรได้เข้า มาร่วมกันบริหารงานของ ตำบลและหมู่บ้าน
ทุกอย่างเท่าที่จะเป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและราษฎรเป็นส่วนรวมอันจะเป็นทางนำราษฏรไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยด้วยวิธีการจัดให้มีสภา
ตำบลและคณะกรรมการตำบลขึ้น อย่างไรก็ตามฐานะของสภาตำบลยังไม่ได้เป็นนิติบุคคลแต่ถือเป็นหน่วยหนึ่งขององค์การบริหารส่วนจังหวัด การที่
สภาตำบลไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลทำให้การบริหารงานไม่สามารถดำเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ขาดความคล่องตัวในการบริหารงานรัฐบาลจึง
ปรับปรุงฐานะของสภาตำบลเสียใหม่ให้เป็น นิติบุคคลเพื่อให้สามารถรองรับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นให้มากยิ่งขึ้นตามพ.ร.บ. สภาตำบลและ
องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 6 และยกฐานะสภาตำบลซึ่งมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็น
นิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 43 ประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและคณะกรรมการบริหารองค์การบริหาร
ส่วนตำบลตามมาตรา 44 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 111 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 มีฐานะ เป็นนิติบุคคล
ปัจจุบันสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลชัยจุมพล ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 224 หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ถนนสายลับแล-พระแท่นฯ มีเนื้อที่โดยประมาณ 56 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 39,117.94 ไร่มีอาณาเขตดังนี้เป็นพื้นที่ป่าสงวน 11,168.03 ไร่
มีจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 11 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 11
เมืองลับแลบ้านทุ่งยั้งปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ เจ้าผู้ครองนครกัมโพชนคร ปรารถนาจะได้เมืองลับแล เป็นเมืองขึ้นต่อขอม จึงยกกองทัพมาเพื่อจะบังคับให้
ตกเป็นเมืองขึ้น แต่เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารไม่ยอม กลับยกกองทัพไปชุมพลเพื่อต่อสู้ บ้านที่ชุมพลนี้ต่อมาเรียกว่าบ้านชัยชุมพล เจ้าฟ้าฮ่ามได้นำทัพหน้าเดิน
ทางไปถึงบ้านเกาะกลางก็ปะทะกับทัพขอม และเกิดการรบพุ่ง ชนกันขึ้น เจ้าฟ้าฮ่าม ได้ทรงบวงสรวงเทพยดาให้ช่วยคุ้มครองบ้านเมืองฉับพลันทันใด
ก็เกิดนิมิตมหัศจรรย์ขึ้นคือ เกิดเป็นฝนตกลง หนักท่ามกลางทหารขอมอย่างหนักจนเกิดน้ำท่วมประดุจทะเล กองทัพขอม ที่ถูกฝนตกหนักจนน้ำท่วม
ติดต่อกันหลายวัน เป็นเหตุทำให้ไพร่พลระส่ำระสาย เจ้าฟ้าฮ่ามกุมารก็เข้ามารบพุ่งจนได้ ชัยชนะ จึงเป็นที่มาของชื่อตำบลชัยจุมพล
(สมปรารถน์ เสาวไพบูลย์, 2527. หน้า 19-25) และได้จัดตั้งเป็น สภาตำบลขึ้นตามคำสั่งของกระทรวงมหาดไทยที่ 222/2499 ลงวันที่ 8 มีนาคม
2499 เรื่องระเบียบบริหาร ราชการส่วนตำบลและหมู่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเปิดโอกาสให้ราษฏรได้เข้า มาร่วมกันบริหารงานของ ตำบลและหมู่บ้าน
ทุกอย่างเท่าที่จะเป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและราษฎรเป็นส่วนรวมอันจะเป็นทางนำราษฏรไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยด้วยวิธีการจัดให้มีสภา
ตำบลและคณะกรรมการตำบลขึ้น อย่างไรก็ตามฐานะของสภาตำบลยังไม่ได้เป็นนิติบุคคลแต่ถือเป็นหน่วยหนึ่งขององค์การบริหารส่วนจังหวัด การที่
สภาตำบลไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลทำให้การบริหารงานไม่สามารถดำเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ขาดความคล่องตัวในการบริหารงานรัฐบาลจึง
ปรับปรุงฐานะของสภาตำบลเสียใหม่ให้เป็น นิติบุคคลเพื่อให้สามารถรองรับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นให้มากยิ่งขึ้นตามพ.ร.บ. สภาตำบลและ
องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 6 และยกฐานะสภาตำบลซึ่งมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็น
นิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 43 ประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและคณะกรรมการบริหารองค์การบริหาร
ส่วนตำบลตามมาตรา 44 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 111 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 มีฐานะ เป็นนิติบุคคล
ปัจจุบันสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลชัยจุมพล ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 224 หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ถนนสายลับแล-พระแท่นฯ มีเนื้อที่โดยประมาณ 56 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 39,117.94 ไร่มีอาณาเขตดังนี้เป็นพื้นที่ป่าสงวน 11,168.03 ไร่
มีจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 11 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 11
ประวัติหน่วยงาน
องค์การบริหารส่วนตำบล หรือ อบต. คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหาร
ส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 111 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 มีฐานะเป็นนิติบุคคล
จากเดิมก่อนจะมาเป็น อบต. ตำบลยังเป็นสภาตำบลซึ่งจัดตั้งขึ้นตามคำสั่งของกระทรวงมหาดไทยที่ 222/2499 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2499
เรื่องระเบียบบริหารราชการส่วนตำบลและหมู่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเปิดโอกาสให้ราษฏรได้เข้า มาร่วมกันบริหารงานของตำบลและหมู่บ้าน
ทุกอย่างเท่าที่จะเป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและราษฏรเป็นส่วนรวมอันจะเป็นทางนำ ราษฏรไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยด้วยวิธีการจัด
ให้มีสภาตำบลและคณะกรรมการตำบลขึ้น อย่างไรก็ตามฐานะของสภาตำบลยังไม่ได้เป็นนิติบุคคลแต่ถือเป็นหน่วยหนึ่งขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดการที่สภาตำบลไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลทำให้การบริหารงานไม่สามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดความคล่องตัวในการบริหารงาน
รัฐบาลจึงปรับปรุงฐานะของสภาตำบลเสียใหม่ให้เป็นนิติบุคคลเพื่อให้สามารถ รองรับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นให้มากยิ่งขึ้นตาม
พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 6 และยกฐานะสภาตำบล ซึ่งมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเป็นองค์การบริหาร
ส่วนตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 43 ประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและ คณะกรรมการ
บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลตามมาตรา 44 เกณฑ์ที่กำหนดให้สภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นไปตามพ.ร.บ.สภาตำบลและ
องค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2537 มาตรา 40 สภาตำบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาสามปีเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละ
หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทหรือตามเกณฑ์รายได้เฉลี่ยวรรคสองอาจจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลไดโดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
และให้พ้นสภาพของสภาตำบลตั้งแต่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศ จัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลและให้โอนบรรดางบประมาณทรัพย์สิน
สิทธหนี้และเจ้าหน้าที่ของสภาตำบลไปเป็นขององค์การบริหารส่วนตำบลและจากผลของ พ.ร.บ.ดังกล่าวได้เกิดการเปลี่ยนแปลงระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดินอย่างขนานใหญ่อันเนื่องมาจากการกระจายอำนาจจากรัฐบาลลงสู่องค์กรประชาชนในระดับตำบลครั้งประวัติศาสตร์ อบต.
แต่ละแห่งจะมีพื้นที่รับผิดชอบในเขตตำบลที่ไม่อยู่ ในเขตของเทศบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ปัจจุบันสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลชัยจุมพล ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 224 หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ถนนสายลับแล-พระแท่นฯ มีเนื้อที่โดยประมาณ 56 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 39,117.94 ไร่มีอาณาเขตดังนี้เป็นพื้นที่ป่าสงวน 11,168.03 ไร่
มีจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 11
ส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 111 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 มีฐานะเป็นนิติบุคคล
จากเดิมก่อนจะมาเป็น อบต. ตำบลยังเป็นสภาตำบลซึ่งจัดตั้งขึ้นตามคำสั่งของกระทรวงมหาดไทยที่ 222/2499 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2499
เรื่องระเบียบบริหารราชการส่วนตำบลและหมู่บ้านโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเปิดโอกาสให้ราษฏรได้เข้า มาร่วมกันบริหารงานของตำบลและหมู่บ้าน
ทุกอย่างเท่าที่จะเป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและราษฏรเป็นส่วนรวมอันจะเป็นทางนำ ราษฏรไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยด้วยวิธีการจัด
ให้มีสภาตำบลและคณะกรรมการตำบลขึ้น อย่างไรก็ตามฐานะของสภาตำบลยังไม่ได้เป็นนิติบุคคลแต่ถือเป็นหน่วยหนึ่งขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดการที่สภาตำบลไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลทำให้การบริหารงานไม่สามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขาดความคล่องตัวในการบริหารงาน
รัฐบาลจึงปรับปรุงฐานะของสภาตำบลเสียใหม่ให้เป็นนิติบุคคลเพื่อให้สามารถ รองรับการกระจายอำนาจไปสู่ท้องถิ่นให้มากยิ่งขึ้นตาม
พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 6 และยกฐานะสภาตำบล ซึ่งมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเป็นองค์การบริหาร
ส่วนตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา 43 ประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและ คณะกรรมการ
บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลตามมาตรา 44 เกณฑ์ที่กำหนดให้สภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นไปตามพ.ร.บ.สภาตำบลและ
องค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2537 มาตรา 40 สภาตำบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาสามปีเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละ
หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทหรือตามเกณฑ์รายได้เฉลี่ยวรรคสองอาจจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลไดโดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
และให้พ้นสภาพของสภาตำบลตั้งแต่กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศ จัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลและให้โอนบรรดางบประมาณทรัพย์สิน
สิทธหนี้และเจ้าหน้าที่ของสภาตำบลไปเป็นขององค์การบริหารส่วนตำบลและจากผลของ พ.ร.บ.ดังกล่าวได้เกิดการเปลี่ยนแปลงระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดินอย่างขนานใหญ่อันเนื่องมาจากการกระจายอำนาจจากรัฐบาลลงสู่องค์กรประชาชนในระดับตำบลครั้งประวัติศาสตร์ อบต.
แต่ละแห่งจะมีพื้นที่รับผิดชอบในเขตตำบลที่ไม่อยู่ ในเขตของเทศบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ปัจจุบันสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลชัยจุมพล ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 224 หมู่ 5 ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ถนนสายลับแล-พระแท่นฯ มีเนื้อที่โดยประมาณ 56 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 39,117.94 ไร่มีอาณาเขตดังนี้เป็นพื้นที่ป่าสงวน 11,168.03 ไร่
มีจำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. ทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 11